เรียนรู้
ส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์ว่ามีอะไรบ้าง เเละเเต่ละชนิดมีชื่ิอเรียกว่า แล้วทำหน้าที่อย่างไรส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์
1. ฐาน (BASE) ทำหน้าที่รับน้ำหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์
2. อาร์ม (ABM) เป็นส่วนยึดกล้องเเละฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้อง
3. ลำกล้อง (BODY TURE) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับ มีลักษณะเป็นท่อกลวงปลายด้านบนมมีเลนส์ใกล้ตาสวมอยู่ด้านบน อีกด้าหนึ่งมีชุดของเลนส์ใกล้วัตถุ
4. แท่นวางวัตถุ (STAGE) เป็นแท่นสำหรับวางสไลด์ที่ต้องการศึกษา
5. เลนส์รวมแสง (CONDE NSER) อยู่ด้านใต้เลนส์วัตถุ เพื่อรวมแสงที่อยู่บนวัตถุผ่านไปยังสไลด์
6. ไอริส ไดอะเเฟรม (IRIS DIAPHARM) ม่านปิดเปิดรูรับเเสง
7. เลนใกล้วัตถุ (OBJECTIVE LENS) รับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำมาศึกษา เมื่ิอแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ ก็จะขยายภาพของวัตถุนั้นๆ ทำให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ
8. (REVOLVING NOSEPIECE) ใช้สำหรับหมุนเพื่อเปลี่ยนกำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
9. เลนส์ใกล้ตา (EYEPIECE LENS หรือ OCULAR LENS) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลำกล้อง มีตัวเลขเเสดงกำลังขยายอยู่ด้านบน เช่น 5x 10x 15x หรือ 40x เป็นต้น
10. ปุมปรับภาพหยาบ (COARSE ADJUSMENT KNOB) ใช้เลื่อนตำแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ในระดับโฟกัส ก็จะมองเห็นภาพได้
11. ปุมปรับภาพละเอียด (FINE ADJUSMENT KNOB) อยู่ใกล้ปุมปรับภาพหยาบที่ตำแหน่งเดียวกัน เมื่อปรับด้วยปุมภาพหยาบจนมองเห็นภาพเเล้ว จึงหมุนปุมปรับภาพละเอียดจะทำให้ได้ภาพที่ชัดเจนขึ้น
จากการใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องเซลล์พืชจากใบว่านกาบหอยและเซลล์เยื่อบุข้างเเก้มได้ดังนี้
ใบว่านกาบหอยโดยพบเซลล์
1.Choraglast
2.Guard Call
3.Call Wall
4.Cytoplasm
เซลล์เยื่อบุข้างเเก้มโดยพบเซลล์
1.Centrosome
2.Cyytoplasm
3.Lysosome
4.Ribosome
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น