วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุปบทเรียนวันที่ 24/ 6 /2556

STRUCTURE  OF  THE  CELL

    ความเหมือนเเละความเเตกต่างของสิ่งมีชีวิต

1.โมเลกุลแบบเดียวกัน  คือ DNA  เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมแต่  DNA  ทั้งสายไม่เหมือนกัน

2.ใช้ภาษาพันธุกรรม  (cenetic  code)  เดียวกันในการถอดรหัสชีวิต  (โดยการสร้างโปรตีน) แต่ได้โปรตีนต่างกัน

  CALL  แบ่งได้ 2   กลุ่ม

1.เซลล์ชั้นต่ำ  ไม่มีเยื่อหุัมนิวเคลียส  คือ  ของเหลวอยู่ในนิวเคลียสมารวมอยู่ในไซโทพลาสซึม  เช่น เเบคทีเรีย

2.เซลล์ชั้นสูง  เซลล์ที่มีการพัฒนา  มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส  พบในเซลล์พวก  protista     มนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ชั้นสูง

  โครงสร้างของเซลล์สามารถแบ่งออกได้หลายกลุ่มดังนี้

1.ขอบเขตของเซลล์  cell  wall,  cell   membrame
2.สร้างสาร   Ribosome  rough ER,   smooth  ER
3.สร้างพลังงาน   mitcochondrion
4.พันธุกรรม  
5.ขนส่งสาร   rough ER,  smooth  ER
6.เกิดปฏิกริยาเคมี   Cytoplast ,  Cloroplast
7.กำจัดของเสีย  Rtsosome ,  vawclo


การลำเลี้ยงสารผ่านเซลล์


   1.การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์  มี  2  แบบ  คือ 

โดยมีโมเลกุลขนาดเล็กเเละขนาดใหญ่

ขนาดเล็ก
 1.1การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน   (passive  trnsport )
 
   1.1.1  การเเพร่  (diffusion)
   1.1.2  การออสโมซีส ( osmosis) เป็นการเเพร่ของเหลวหรือการแพร่ของน้ำผ่านเยื้อเลือกผ่าน โดยน้ำจะแพร่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นน้ำมากไปยังที่มีนัำน้อย

     1. สารละลายไฮเปอร์โทนิก (hypertonic   solution)

     2. สารละลายไฮโบโทนิก      ( hypotonic    solution)

     3. สารละลายไอโซโทนิก      ( isotonic    solution)

   1.1.3  การเเพร่เเบบฟาซิลิเทต  (  Eacilltated  Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบรเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ  โดยอาศัยโปรตีน

1.2การลำเลียงเเบบใช้พลังงาน ( Active  transport) 

2.การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื้อหุ้มเซลล์  ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่

   2.1  เอกโซไทโทซิล ( Exocy  tosis)  เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ๋ออกจากเซลล์  สารที่จะถูกส่งไปนอกเซลล์บรรจุอยู่ในเวสสิคิล

   2.2  เอนโดไซโทซิล  ( Endocy  tosis)  เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์  ในสิ่งมีชีวิตที่มีชื่อเรียก  แตกต่างไปตามกลไกการลำเลียง  คือ

         2.2.1   ฟาโกโทซิส  ( Phagocytosis)
 
         2.2.2    พิโนไซโทซิส   (Pinocytosis)

         2.2.3    การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (  Receptor)


 
  

 

 

 




วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุป Lab วันที่ 21/6 /2556


เรียนรู้

ส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์ว่ามีอะไรบ้าง  เเละเเต่ละชนิดมีชื่ิอเรียกว่า  แล้วทำหน้าที่อย่างไร




ส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์
 
1.    ฐาน (BASE)  ทำหน้าที่รับน้ำหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์
2.   อาร์ม (ABM)  เป็นส่วนยึดกล้องเเละฐานไว้ด้วยกัน  ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้อง
3.   ลำกล้อง  (BODY TURE)  เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับ  มีลักษณะเป็นท่อกลวงปลายด้านบนมมีเลนส์ใกล้ตาสวมอยู่ด้านบน   อีกด้าหนึ่งมีชุดของเลนส์ใกล้วัตถุ
4.   แท่นวางวัตถุ  (STAGE)  เป็นแท่นสำหรับวางสไลด์ที่ต้องการศึกษา
5.   เลนส์รวมแสง (CONDE  NSER)  อยู่ด้านใต้เลนส์วัตถุ  เพื่อรวมแสงที่อยู่บนวัตถุผ่านไปยังสไลด์
6.   ไอริส ไดอะเเฟรม  (IRIS DIAPHARM) ม่านปิดเปิดรูรับเเสง
7.   เลนใกล้วัตถุ (OBJECTIVE  LENS)  รับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำมาศึกษา  เมื่ิอแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ  ก็จะขยายภาพของวัตถุนั้นๆ  ทำให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ
8.   (REVOLVING  NOSEPIECE)  ใช้สำหรับหมุนเพื่อเปลี่ยนกำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
9.   เลนส์ใกล้ตา  (EYEPIECE  LENS  หรือ  OCULAR  LENS)  เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลำกล้อง มีตัวเลขเเสดงกำลังขยายอยู่ด้านบน  เช่น  5x  10x  15x  หรือ   40x  เป็นต้น
10. ปุมปรับภาพหยาบ  (COARSE  ADJUSMENT  KNOB)   ใช้เลื่อนตำแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ในระดับโฟกัส  ก็จะมองเห็นภาพได้
11.  ปุมปรับภาพละเอียด  (FINE ADJUSMENT  KNOB)   อยู่ใกล้ปุมปรับภาพหยาบที่ตำแหน่งเดียวกัน เมื่อปรับด้วยปุมภาพหยาบจนมองเห็นภาพเเล้ว  จึงหมุนปุมปรับภาพละเอียดจะทำให้ได้ภาพที่ชัดเจนขึ้น
 
 
 จากการใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องเซลล์พืชจากใบว่านกาบหอยและเซลล์เยื่อบุข้างเเก้มได้ดังนี้
     
   ใบว่านกาบหอยโดยพบเซลล์



1.Choraglast
2.Guard  Call
3.Call  Wall
4.Cytoplasm
  
 เซลล์เยื่อบุข้างเเก้มโดยพบเซลล์

1.Centrosome
2.Cyytoplasm
3.Lysosome
4.Ribosome
 
 
 

วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2556

warangkanang

 
 
สรุปบทเรียนวันที่  17/6/56
 
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
 
        ในการเเสวงหาความรู้วิธีการทางวิทยาศาสตร์นั้น  ประกอบไปด้วย  ดังนี้
 
 
1.การกำหนดปัญหา  (ในการกำหนดปัญหาจะต้องตั้งชื่อปัญหานั้นให้มีความสัมพันธ์กับตัวเเปรต้นเเละตัว
 
แปรตาม)
 
2.สมุติฐานที่เป็นไปได้
 
3.คำนิยามเชิงปฏิบัติการ (จะใช้เมื่อเเปรความหมายได้หลายอย่าง   )
 
4.ตัวเเปร
 
   - ตัวเเปรต้น
 
   - ตัวแปรตาม
 
   - ตัวแปรควบคุม
 
  
5. ขอบเขตของการทดลอง ( ให้ระบุสิ่งที่จริงที่นำมาทดลอง)
 
6.วิธีการทดสสอบสมมุติฐาน
 
7.วิธีการนำเสนอผลการทดลอง
 
 

 
ในทางวิทยาศาสตร์นั้นนักวิทยาศาสตร์จะใช้เครื่องมือที่สำคัญมากทางวิทยาศาสตร์ คือ กล้องจุลทรรศน์
 
ในการหาคำตอบของเซลล์สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้  ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้าง  2
 
สวน  คือ
 
    1.โคร้งสร้างเเสง
 
    2.โคร้งสร้างภาพ
 
กล้องจุลทรรศน์นี้ให้ภาพสุดท้ายในภาพเหมือนหัวกลับ
 
กล้องจุลทรรศน์ประกอบด้วยเลนส์  2  อัน  คือ  เลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา
 
กำลังขยายของกล้องจุลทรรศน์  =  กำลังขยายเลนส์ใกล้ตาคคูณกำลังขยายเลนส์ใกล้วัตถุ
 
จะเขียนกำลังขยายใต้ภาพทางด้านขวามือ
 
จะเเสดงชื่อภาพไว้ด้านบนรูป
 
เขียนป้ายกำกับชื่อหรือ  label  จากตาเห็นในกล้องจุลทรรศน์
 

 
 
 
 
 

วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556




สรุปบทเรียน



เด็กไทยในวันนี้  คือ  อนาคตของชาติในวันหน้า


        เด็กถือเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดของชาติ   เป็นผู้ที่จะนำพาประเทศชาติไปสู่ความสำเร็จในวันข้าง

หน้า   การที่ครูจะสอนเด็กให้ได้ดีนั้นผู้เป็นครูจะต้องมองข้ามข้อบกพร่องทุกสิ่งทุกอย่าง  พร้อมที่จะเข้าใ

ใจเด็กตลอดเวลา  ก็สามารถทำให้เขาเรียนรู้ได้ดี

       




             '' ใส่ใจกับการเปลี่ยนเเปลงเล็กน้อยเร็วขึ้น  เพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงใหญ่ที่อาจตามมา''





        ไม่ว่าใครต่อใคร   ล้วนที่จะเเสวงหาสิ่งที่ดีที่สุดให้กับตนเองเสมอ   โลกที่เปลี่ยนไป  ทำให้สรรพสิ่ง

เปลี่ยนตามจนเกิดความรู้ใหม่ๆ ขึ้น  หากเป็นเช่นนี้เด็กก็จำเป็นที่จะเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง ให้ได้

รับความรู้ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา   เพื่อให้ประสบกับความสำเร็จในชีวิต  เปรียบกับนกอินทรีย์ที่ต้องเปลี่ยน

แปลงตนเองเพื่อความอยู่รอดปลอดภัย  ถึงเเม้การเปลี่ยนแปลงบ้างครั้งอาจจะเจ็บปวดแต่ก็สามารถ

เปลี่ยนแปลงชีวิตมันทั้งชีวิตให้สวยงามได้








                      สิ่งที่จะนำพาเด็กไทยไปสู่หัวใจหลักเเห่งการศึกษา

                      ได้ดีที่สุด   คือ  ครู  ผู้ที่มีแต่ให้กับให้



วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2556

sentang shiwit



ไม่เปลี่ยนแปลง :วรางคนางค์ วาหะรักษ์
มักเรียกกัน: ฟารีด้า
ฟ้าประทาน :6 มกราคม 2537
อยากให้เูธอได้ยินเสัยง: 090-8684634
ทางกลับบ้าน :41/1ม.9 ต.บางเตย อ.เมือง จ.พังงา82000
ที่พักใจชั่วคราว :หอผ่าสุก
facebook :warangkanang waharak
Email :warangkanang__da@hotmail.com


>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
 
           ประวัติการศึกษา

ประถม: โรงเรียนบ้านกลาง 
มัธยม  : โรงเรียนประทีศาสน์   
ปริญญาตรี: PSU pattani ชั้นปีที่2
คณะศึกษาศาตร์ :สาขาวิชาการประถม


'''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''
เพื่อนสนิท: ทิตย์ศรา มารีณา มูนา นูรี
สีที่ชอบ :ฟ้า
อาหารจานโปรด :ไก่ผัดกระเทียมพริกไทย
ผลไม้ที่ชอบ :มะม่วง (เปรี้ยว)
งานอดิเรก: ฟังเพลง ร้องเพลง ดูข่าว



คติประจำใจ  :อย่าท้อในสิ่งที่ไำม่ได้ทำ อย่าตอกยํ้ากับสิ่งที่ผ่านมา

                                                                   ชีวิตคือการต่อสู้                    ศัตรูคือยากำลัง
                                                                   อุปสรรค์สร้างความหวัง        กี่พันครั้งยังก้าวเดิน
                                                                   ศัตรูมิใช่มิตร                         คอยแต่คิดทิ่มแทงหลัง
                                                                    เรารู้เขาหรือยัง                    ผิดพลาดพรั่งระวังไว้