วันอาทิตย์ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2556
การศึกษาไทย
ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3
ระบบการศึกษาไทยปัจจุบันตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3
นอกจากนั้นระบบการศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่าการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอนที่ภาษาอังกฤษใช้คำว่า "Modes of learning" ฉะนั้น แนวทางใหม่คือสถานศึกษาสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ โดยพระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่าการจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ
(1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
(2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
(3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ
สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทำงานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ
การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
1. การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ
1.1 การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 – 6 ปี
1.2 การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี
1.3 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภท ดังนี้
1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
(1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน
(2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบวิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
(3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือแหล่งความรู้อื่นๆ
สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทำงานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ
การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
1. การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ
1.1 การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 – 6 ปี
1.2 การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี
1.3 การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภท ดังนี้
1) ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
2) ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
2. การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา การใช้คำว่า "อุดมศึกษา" แทนคำว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุมการศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
ทั้งนี้การศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
การศึกษาภาคบังคับนั้นต่างจากการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่บังคับให้ประชาชนต้องเข้าเรียนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียนถือเป็นหน้าที่ของพลเมืองตามมาตรา 69 ของรัฐธรรมนูญ
ทั้งนี้การศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหก เว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์และวิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
การศึกษาภาคบังคับนั้นต่างจากการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่บังคับให้ประชาชนต้องเข้าเรียนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียนถือเป็นหน้าที่ของพลเมืองตามมาตรา 69 ของรัฐธรรมนูญ
นำมาฝากกกกกกกก
ชีวิตของคนเราแต่ละคนนั้นย่อมผ่านอะไรมาตั้งมากมาย ทั้งสุข ผิดหวัง เศร้า เสียใจ แต่จะมีใครรู้บ้างนะว่ายังมีอะไรอีกหลาย ๆ อย่างที่คนเราบ้างคนยังไม่รู้ ลองมาดุกันนะค่ะว่าสิ่งนั้น คืออะไร
3 สิ่งในชีวิตที่นำมาฝาก
3 สิ่งในชีวิต ที่ผ่านไปแล้วไม่มีวันหวนกลับคื นมา คือ เวลา คำพูด อกาส
3 สิ่งในชีวิตของเราจะขาดไม่ได้ คือ ความสงบของใจ ความสื่อสัตย์และความหวังดี
3 สิ่งในชีวิตที่มีค่าต่อชีวิต คือ ความรัก ความมั่นใจในตนเองเเละเพื่อน
3 สิ่งในชีวิต ที่ไม่เเน่นอน คือ ความฝัน ความสำเร็จ เเละโชคชะตา
3 สิ่งในชีวิต ที่เราไม่สามารถรู้ได้ คือ ริสกี คู่ครอง และความตาย
3 สิ่งในชีวิต ที่นำพาสู่ความพินาศ คือ อบายมุข ความเย่อหยิ่งเเละความโกรธ
3 สิ่งในชีวิต ที่นำไปสู่สวรรค์ คือ ความดี ความอดทนและความยำเกรง
3 สิ่งในชีวิต ที่ผ่านไปแล้วไม่มีวันหวนกลับคื
3 สิ่งในชีวิตของเราจะขาดไม่ได้ คือ ความสงบของใจ ความสื่อสัตย์และความหวังดี
3 สิ่งในชีวิตที่มีค่าต่อชีวิต คือ ความรัก ความมั่นใจในตนเองเเละเพื่อน
3 สิ่งในชีวิต ที่ไม่เเน่นอน คือ ความฝัน ความสำเร็จ เเละโชคชะตา
3 สิ่งในชีวิต ที่เราไม่สามารถรู้ได้ คือ ริสกี คู่ครอง และความตาย
3 สิ่งในชีวิต ที่นำพาสู่ความพินาศ คือ อบายมุข ความเย่อหยิ่งเเละความโกรธ
3 สิ่งในชีวิต ที่นำไปสู่สวรรค์ คือ ความดี ความอดทนและความยำเกรง
เศรษฐกิจพอเพียง
"เศรษฐกิจพอเพียง" ซึ่งเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้นและสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ
"เศรษฐกิจพอเพียง" เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปใน "ทางสายกลาง" โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
"เศรษฐกิจพอเพียง"หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคุณธรรมความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
. . . คนส่วนมากมักเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของ
เกษตรกรในชนบทเท่านั้น แต่แท้ที่จริง ผู้ประกอบอาชีพอื่น เช่น
พ่อค้า ข้าราชการ และพนักงานบริษัทต่างๆ สามารถนำแนว
พระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ได้ . . .
เกษตรกรในชนบทเท่านั้น แต่แท้ที่จริง ผู้ประกอบอาชีพอื่น เช่น
พ่อค้า ข้าราชการ และพนักงานบริษัทต่างๆ สามารถนำแนว
พระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้ได้ . . .
. . . ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง และทำได้เศษหนึ่ง
ส่วนสี่เท่านั้นจะพอนั้น ไม่ได้แปลว่า เศษหนึ่งส่วนสี่ของพื้นที่
แต่เป็นเศษหนึ่งส่วนสี่ของการกระทำ . . .
ส่วนสี่เท่านั้นจะพอนั้น ไม่ได้แปลว่า เศษหนึ่งส่วนสี่ของพื้นที่
แต่เป็นเศษหนึ่งส่วนสี่ของการกระทำ . . .
วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2556
.สื่อการเรียนการสอน โครงการเด็กไทยสุขภาพดี .
สื่อการเรียนการสอน โครงการเด็กไทยสุขภาพดี
สื่อตัวอย่างหนึ่งที่สามารถนำมาใช่ปฏิบัติได้อย่างง่ายดายสำหรับการสอนเด็ก ซึ่งจะทำให้เด็กเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น
เเหล่งที่มา http://www.youtube.com/watch?v=znL0dOxaRZo
ง่าย ๆ เพียงเเค่คุณดูแลเอาใจใส
7 เคล็ดลับการกินอาหารแบบคนสุขภาพดี
ในยุคที่กระแสคนรักสุขภาพกำลัง ได้รับความสนใจจากคนทั่วโลกการกินเพื่อสุขภาพคือสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องให้ความใส่ใจ เพราะการกินไม่ใช่แค่การสนองความต้องการหรือให้อิ่มท้องเท่านั้น หากแต่ยังต้องคำนึงถึงผลที่มีต่อสุขภาพด้วย
อาหารและสุขภาพเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกัน การเกิดโรคบางชนิดก็มีสาเหตุส่วนหนึ่งจากการกินอาหารที่ไม่เหมาะสม หลายคนเคยหลงรูป รส หรือความสะดวกรวดเร็ว ของอาหารที่แฝงไปด้วยพิษภัยอย่างเงียบ ๆ เช่น ฟาสต์ฟูด อาหารสำเร็จรูป เบเกอรี่ ขนมขบเคี้ยว น้ำอัดลมฯลฯ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมการกินที่ผิดและตกยุค กระแสรักสุขภาพและการกินเพื่อสุขภาพตามมา ดังนั้น จึงขอแนะนำ 7 เคล็ดลับการกินเพื่อสุขภาพเพื่อให้นำไปใช้กัน
1. ทานอาหารเช้าเป็นประจำ เพราะมื้อเช้าเป็นมื้อที่สำคัญที่สุด และควรเป็นมื้อที่มีคุณค่าครบทั้ง 5 หมู่ในปริมาณที่เหมาะสม เพราะนอกจากจะช่วยเติมพลังให้ร่างกาย และสมองแล้ว ยังช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเส้นเลือด ช่วยให้การเผาผลาญ พลังงานดีขึ้น
2. เลือกอาหารจากธรรมชาติไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง ข้าวบาร์เลย์(มอลต์) ถั่ว ข้าวสาลี (โฮลวีต) เมล็ดทานตะวัน เป็นต้น ซึ่งอาหารเหล่า นี้มีคุณค่าทางโภชนาการสูง เป็นแหล่งรวมของแร่ธาตุ วิตามิน โปรตีนที่ปราศจากคอเลสเตอรอลและคาร์โบไฮเดรต
3. เพิ่มผักผลไม้ในมื้ออาหารและทานเป็นประจำ เพื่อเพิ่มวิตามิน เกลือแร่และสารอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อร่างกาย ช่วยลดความเสี่ยงโรคหัวใจ ช่วยนำคอเลสเตอรอล และสารก่อมะเร็งบางชนิด ออกจากร่างกาย
4. ลดขนมขบเคี้ยวและขนมอบ ที่มีแต่ไขมัน เกลือ น้ำตาลและสารปรุงแต่งอื่น ๆ ที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ หากอยากทานขนมอาจหันมาทานขนมที่มีส่วนผสมของธัญพืชเพื่อเพิ่มคุณค่าทาง
5. กินปลา ไข่และเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน อาหารเหล่านี้เป็นแหล่งโปรตีนที่ดี ช่วยเสริมสร้างร่างกายในผู้เยาว์ และซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ที่เสื่อมสลายในผู้สูงวัย
6. ดื่มเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพแทนน้ำหวาน น้ำอัดลม หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งมีน้ำตาลสูง การดื่มน้ำผักผลไม้ ก็เป็นทางเลือกที่ดี เพราะอุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการ ทั้งคาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามินและแร่ธาตุกว่า 50 ชนิด เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย
7. ดื่มน้ำและนมให้เป็นนิสัย ควรดื่มน้ำอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว เพื่อช่วยระบบขับถ่าย และมีน้ำหล่อเลี้ยงในเซลล์ต่าง ๆ ของร่างกาย และควรดื่มนมอย่างน้อยวันละ 1-2 แก้ว ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ เพราะนมอุดมไปด้วยคุณค่าโภชนาการสูง ช่วยในการเจริญเติบโตของเด็ก ๆ ช่วยให้กระดูกและฟันแข็งแรง
แหล่งอ้างอิง http://blog.th.88db.com/?p=2426
พันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
ยีนและโครโมโซม
ยีนยีน (gene) คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม (chromosome) มีลักษณะเรียงกันเหมือนสร้อยลูกปัด ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่ไปยังลูกหลาน ในคนจะมียีนประมาณ 50,000 ยีน แต่ละยีนจะควบคุมลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนที่ควบคุมลักษณะพันธุกรรมบางอย่างมี 2 ชนิด คือ
1. ยีนเด่น (dominant gene) คือ ยีนที่แสดงลักษณะนั้นๆ ออกมาได้ แม้มียีนนั้นเพียงยีนเดียว
2. ยีนด้อย (recessive gene) คือ ยีนที่สามารถแสดงลักษณะให้ปรากฏออกมาได้ ก็ต่อเมื่อมียีนด้อยทั้งสองยีนอยู่บนคู่โครโมโซม
โครโมโซม
โครโมโซม (chromosome) ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วย นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม เมื่อใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูนิวเคลียสของเซลล์ที่กำลังแบ่งตัวจะเห็นโครงสร้างมีลักษณะเป็นเส้นยาวๆ เล็กๆ ขดไปมาเรียกโครงสร้างนี้ว่า โครมาทิน (chromatin) เมื่อเซลล์โครมาทินขดแน่นมากขึ้นและหดสั้นลง จะมีลักษณะเป็นแท่งเรียกว่า โครโมโซม (chromosome) โครโมโซมแต่ละโครโมโซมประกอบด้วยแขน 2 ข้าง เรียกว่า โครมาทิด (chromatid) ซึ่งแขนทั้งสองจะมีจุดเชื่อมกันเรียกว่า เซนโทรเมียร์ (centromere) ดังรูป
# จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต มีจำนวนโครโมโซมที่คงที่และเท่ากันเสมอ ถ้าสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันจะมีจำนวนโครโมโซมที่แตกต่างกัน จำนวนโครโมโซมในเซลล์ร่างกายและโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์จะแตกต่างกัน โดยโครโมโซมในเซลล์สืบพันธุ์จะมีเพียงครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย ดังตาราง
สิ่งมีชีวิต
|
จำนวนโครโมโซม
| |
เซลล์ร่างกาย (แท่ง)
|
เซลล์สืบพันธุ์ (แท่ง)
| |
1. ถั่วลันเตา 2. ข้าวโพด 3. ข้าว 4. มะเขือเทศ 5. แมลงหวี่ 6. แมลงวัน 7. สุนัข 8. ปลากัด 9. ชิมแปนซี 10. คน 11. ไก่ 12. หนู |
14
10 24 24 8 12 78 42 48 46 78 42 |
7
5 12 12 4 6 39 21 24 23 39 21 |
การศึกษาจำนวนและรูปร่างโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต เช่น คน ทำโดยนำเซลล์ร่างกาย เช่น เซลล์เม็ดเลือดขาวบางชนิดมาศึกษา และนำมาถ่ายภาพของโครโมโซม จากนั้นจึงนำภาพถ่ายโครโมโซมมาจัดเรียงตามรูปร่าง ลักษณะ และขนาด โดยนำโครโมโซมที่มีรูปร่างลักษณะเหมือนกันและขนาดใกล้เคียงกันมาจัดไว้ในคู่เดียวกัน
ในคนมีโครโมโซม 46 แท่ง จัดได้ 23 คู่ แบ่งเป็นออโทโซม ซึ่งมีลักษณะเหมือนกันในเพศชายและเพศหญิงจำนวน 22 คู่ ส่วนคู่ที่ 23 เป็นโครโมโซมเพศ มีลักษณะต่างกันดังรูป
ในเพศชายมีโครโมโซมเพศหนึ่งแท่งขนาดใหญ่ เรียกว่า โครโมโซม X และโครโมโซมเพศอีกแท่งหนึ่งมีขนาดเล็ก เรียกว่า โครโมโซม Y สัญลักษณ์เพศชายคือ XY ส่วนโครโมโซมเพศของเพศหญิงเป็นโครโมโซม X เหมือนกันทั้งคู่ สัญลักษณ์เพศหญิงคือ XX
ภายในนิวเคลียสของแต่ละเซลล์ประกอบเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต จะมีจำนวนโครโมโซมเท่ากันหมดทุกเซลล์ เช่น ทุกๆ เซลล์ของร่างกายคนมีโครโมโซมจำนวน 46 แท่ง ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะมีโครโมโซมเพียงครึ่งเดียวของเซลล์ร่างกาย
ภายในนิวเคลียสของแต่ละเซลล์ประกอบเป็นร่างกายของสิ่งมีชีวิต จะมีจำนวนโครโมโซมเท่ากันหมดทุกเซลล์ เช่น ทุกๆ เซลล์ของร่างกายคนมีโครโมโซมจำนวน 46 แท่ง ส่วนในเซลล์สืบพันธุ์จะมีโครโมโซมเพียงครึ่งเดียวของเซลล์ร่างกาย
วันพฤหัสบดีที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2556
7 เทคนิคลัด เทคนิคลับ ในการอ่านหนังสือให้จำ ในเวลาที่จำกัด
1. ต้องสร้างทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือซะก่อน หากมีทัศนคติที่แย่ๆ ต่อการอ่านหนังสือแล้ว อ่านถึง2. เมื่อมีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านหนังสือแล้ว ก็ต้องมาสร้างแรงจูงใจในการอ่านหนังสือด้วย แรงจูงใจจะเป็นตัวผลักดัน และกระตุ้นให้เพื่อนๆ มีความอยากในการอ่านหนังสือ วิธีการสร้างแรงจูงใจก็คือพยายามคิดถึงผลที่จะเกิดขึ้น ถ้าเราอ่านหนังสือสำเร็จ
3. พยายามสรุปเรื่องที่เราอ่านแล้วจำเป็นรูปภาพ สรุปเรื่องที่เราอ่านแล้ว นำมาทำเป็น My map เพื่อเชื่อมโยงในส่วนที่สัมพันธ์กัน และวาดให้เป็นความเข้าใจของตัวเอง จะทำให้จำได้แม่นขึ้น
4. หาเวลาติวให้เพื่อน เป็นวิธีการทบทวนความรู้ไปในตัวได้ดีที่สุด เพราะเราจะสอนออกมาจากความเข้าใจของตัวเราเอง หากติวแล้วเพื่อนที่เราติวให้เข้าใจ ถือว่าเราแตกฉานในความรู้นั้นได้อย่างแท้จริง
5. เน้นการตะลุยโจทย์ให้เยอะๆ พยายามหาข้อสอบย้อนหลังมาทำให้ได้มากที่สุด เพราะการตะลุยโจทย์จะทำให้เราจำได้ง่ายกว่าการอ่านเนื้อหา
6. เตรียมตัว และให้ความสำคัญในการอ่านหนังสือในวิชาที่เราถนัดมากกว่าวิชาที่ดันไม่ขึ้น
แบบนี้เข้าท่ากว่าเยอะนะ
7. สมาธิเป็นสิ่งสำคัญมากในการอ่านหนังสือ การอ่านหนังสือให้มีประสิทธิภาพ ต้องมีสมาธิดี ใครที่สมาธิสั้น จะจำยาก ลืมง่าย ใครสมาธิดี จะจำง่าย ลืมยาก การอ่านหนังสือ ต้องอ่านต่อเนื่องอย่างน้อย ชั่วโมงครึ่ง 30 นาทีแรกจิตใจของเรากำลังฟุ้ง ให้พยายามปรับให้นิ่ง 60 นาทีหลัง ใจนิ่งมีสมาธิแล้ว ก็พร้อมรับสิ่งใหม่ เข้าสู่สมอง ที่สำคัญอย่าเอาขยะมาใส่หัว ห้ามคิดเรื่องพวกนี้ซักพัก เช่น เรื่องหนัง , เกม , แฟน พยายามออกกำลังกาย ดูแลสุขภาพ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้จิตใจเรานิ่งขึ้น
แหล่งอ้างอิง http://www.readthailand.com/7
ความเกี่ยวข้องของสิ่งมีชีวิตในระดับต่าง
ความเกี่ยวข้องของสิ่งมีชีวิตในห่วงโซ่อาหาร
ห่วงโซ่อาหาร (FOOD CHAIN) หมายถึง การที่สิ่งมีชีวิตกินกันเป็นลำดับต่อเนื่องกัน เช่น มดกินปลา งูกินไก่
สายใยอาหาร (FOOD WEB) หมายถึง ลักษณะความเกี่ยวข้องในเเง่การกินอาหารของสิ่งมีชีวิตสับซ้อน ผู้บริโภคแต่ละชนิดไม่ได้กินอาหารและไม่ได้้เป็นอาหารของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
ลักษณะการถ่ายทอดสารอาหารเเละพลังงาน
ลักษณะของห่วงโว่อาหารเเละสายใยอาหาร
ตัวอย่างห่วงโซ่อาหาร
ตัวอย่างสายใยอาหาร
ความมสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
๑. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน
ซึ่งดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันเป็นหมู่
เป็นกลุ่ม เป็นฝูง มีความสัมพันธ์ ทั้งในด้านบวกและลบ ผลดีก็คือ
การอยู่ร่วมกันเป็นฝูง จะทำให้มีการปกป้องอันตรายให้กัน
มีการขยายพันธุ์ได้รวดเร็วขึ้น มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ เป็นผู้นำ ฝูง เช่น
การรวมฝูงของช้าง ลิง ผึ้ง ต่อ แตน และนก ขณะเดียวกันก็มีผลในทางลบ เพราะ
การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มและดำรงชีวิตแบบเดียว กันนั้น
ก่อให้เกิดการแก่งแย่งแข่งขัน และเกิด ความหนาแน่นของประชากรมากเกินไป
๒. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกัน
เป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นใน ลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
๑. ภาวะการเป็นผู้อาศัย
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ฝ่ายผู้อาศัยเป็นผู้ได้รับประโยชน์ ผู้ที่ให้อาศัยเป็นผู้เสียประโยชน์ เช่น ต้นกาฝาก ซึ่งเกิดบนต้นไม้ใหญ่ มีรากพิเศษที่เจาะลงไปยังท่อน้ำและท่ออาหารของต้นไม้เพื่อดูดน้ำและธาตุอาหารหรือสัตว์ประเภทหมัด
เป็นความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นใน ลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
๑. ภาวะการเป็นผู้อาศัย
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิดที่อาศัยอยู่ร่วมกัน ฝ่ายผู้อาศัยเป็นผู้ได้รับประโยชน์ ผู้ที่ให้อาศัยเป็นผู้เสียประโยชน์ เช่น ต้นกาฝาก ซึ่งเกิดบนต้นไม้ใหญ่ มีรากพิเศษที่เจาะลงไปยังท่อน้ำและท่ออาหารของต้นไม้เพื่อดูดน้ำและธาตุอาหารหรือสัตว์ประเภทหมัด
กล้วยไม้ป่า
๒. การล่าเหยื่อ
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ที่ชีวิตหนึ่งต้องตกเป็นอาหารของอีกชีวิตหนึ่ง
เช่น กวางเป็นอาหารของสัตว์ ปลาเป็นอาหารของมนุษย์
ซึ่งสิ่งมีชีวิตล่าชีวิตอื่นเป็นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า
และชีวิตทีต้องตกเป็นอาหารนั้น เรียกว่า เหยื่อ
๓. การได้ประโยชน์ร่วมกัน
เป็นการอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิด ที่ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์กันและกัน เช่น นกเอี้ยงกับควาย การที่นกเอี้ยงเกาะอยู่บนหลังควายนั้นมันจะจิกกินเห็บให้กับควาย ขณะเดียวกันก็จะส่งเสียงเตือนภัยให้กับควาย เมื่อมีศัตรูมาทำอันตรายควาย
เป็นการอยู่ร่วมกันระหว่างสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิด ที่ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์กันและกัน เช่น นกเอี้ยงกับควาย การที่นกเอี้ยงเกาะอยู่บนหลังควายนั้นมันจะจิกกินเห็บให้กับควาย ขณะเดียวกันก็จะส่งเสียงเตือนภัยให้กับควาย เมื่อมีศัตรูมาทำอันตรายควาย
๔. ภาวะแห่งการเกื้อกูล
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิด ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายไม่เสียประโยชน์ แต่ก็ไม่ได้ประโยชน์อย่างเช่น กล้วยไม้ป่า
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิด ที่ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ ส่วนอีกฝ่ายไม่เสียประโยชน์ แต่ก็ไม่ได้ประโยชน์อย่างเช่น กล้วยไม้ป่า
๕. ภาวะที่ต้องพึ่งพากันและกัน
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิด ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ถ้าแยกจากกัน เช่น ไลเคน
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ๒ ชนิด ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ถ้าแยกจากกัน เช่น ไลเคน
ไลเคนบนต้นไม้
๖. ภาวะของการสร้างสารปฎิชีวนะ
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ที่ฝ่ายหนึ่งไม่ได้รับประโยชน์ แต่อีกฝ่ายหนึ่งต้องเสียประโยชน์เช่น ราเพนิซิเลียม สร้างสารเพนิซีเลียม ออกมา แล้วไปมีผลต่อการยับยั้งการเจริญของบัคเตรี
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ที่ฝ่ายหนึ่งไม่ได้รับประโยชน์ แต่อีกฝ่ายหนึ่งต้องเสียประโยชน์เช่น ราเพนิซิเลียม สร้างสารเพนิซีเลียม ออกมา แล้วไปมีผลต่อการยับยั้งการเจริญของบัคเตรี
๗. ภาวะการกีดกัน
เป็นภาวะที่การดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต ไปมีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เช่น ต้นไม้ใหญ่บังแสงไม่ให้ส่องถึงไม้เล็กที่อยู่ข้างล่าง ทำให้ไม้เล็กไม่อาจเติบโตได้
เป็นภาวะที่การดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิต ไปมีผลต่อการอยู่รอดของสิ่งมีชีวิตอีกชนิดหนึ่ง เช่น ต้นไม้ใหญ่บังแสงไม่ให้ส่องถึงไม้เล็กที่อยู่ข้างล่าง ทำให้ไม้เล็กไม่อาจเติบโตได้
๘. ภาวะของการแข่งขัน
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ๒ ชีวิต ซึ่งอาจเป็นชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดกัน ที่มีความต้องการที่อยู่อาศัย หรืออาหารอย่างเดียวกันในการดำรงชีวิต จึงเกิดการแข่งขัน เพื่อครอบครองที่อยู่อาศัย หรือแย่งชิงอาหารนั้น เช่น ต้นไม้สองต้นที่ขึ้นอยู่ในกระถางเดียวกัน
เป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ๒ ชีวิต ซึ่งอาจเป็นชนิดเดียวกัน หรือต่างชนิดกัน ที่มีความต้องการที่อยู่อาศัย หรืออาหารอย่างเดียวกันในการดำรงชีวิต จึงเกิดการแข่งขัน เพื่อครอบครองที่อยู่อาศัย หรือแย่งชิงอาหารนั้น เช่น ต้นไม้สองต้นที่ขึ้นอยู่ในกระถางเดียวกัน
๙. ภาวะการเป็นกลาง
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ๒ ชีวิต ในชุมชนเดียวกัน แต่ต่างดำรงชีวิตเป็นอิสระแก่กัน โดยไม่ให้ และไม่เสียประโยชน์ต่อกัน
เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ๒ ชีวิต ในชุมชนเดียวกัน แต่ต่างดำรงชีวิตเป็นอิสระแก่กัน โดยไม่ให้ และไม่เสียประโยชน์ต่อกัน
๑๐. ภาวะการย่อยสลาย
เป็นการดำรงชีวิตของพวกเห็ดรา บัคเตรี ที่มีชีวิตอยู่ด้วยการหลั่งสารเอนไซม์ออกมานอกร่างกาย เพื่อย่อยซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นรูปของเหลว แล้วดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย ในรูปของเหลว
เป็นการดำรงชีวิตของพวกเห็ดรา บัคเตรี ที่มีชีวิตอยู่ด้วยการหลั่งสารเอนไซม์ออกมานอกร่างกาย เพื่อย่อยซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นรูปของเหลว แล้วดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย ในรูปของเหลว
แหล่งอ้างอิง
http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/book.php?book=17&chap=3&page=t17-3-infodetail07.html
วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2556
การแบ่งเซลล์
การเเบ่งเเบบไมโทซิส
การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเเบ่งได้ 4 ระยะย่อย
- ระยะโพเฟส
- ระยะเมทาเฟส
- ระยะเอนนาเฟส
- ระยะเทโลเฟส
- โดยทั่วไปเป็นการเเบ่งเซลล์ของร่างกายเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์
- เริ่มจาก 1 เซลล์ แบ่งครั้งเดียวได้เป็น 2 เซลล์ใหม่
- เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้นสองเซลล์ สามารถเเบ่งตัวไมโทซิสได้อีก
- การเเบ่งเซลล์แบบไมโทซิส จะเริ่มเกิดขึ้นตั้งเเต่ระยไซโกต และเกิดสืบเนื่องกันไปตลอดชีวิต
- จำนวนไมโครโซมหลังการเเบ่งเซลล์จำนวนเท่าเดิม (2n) เพราะไม่มีการเเยกคู่ของฮอมอโลกัสโครโมโซม
- ไม่มีไซแนปซิส ไม่มีไคแอสมา และไม่มีครอสซิงโอเวอร์
- ลักษณะของสารพันธุกรรมจะเหมือนเดิมทุกประการ
การแบ่งเซลล์เเบบไมโอซิส
แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ
- ระยะไมโอซิส I
- ระยะไมโอซิส II
- โดยทั่วไปเกิดกับเซลล์ที่จะทำหน้าที่ให้กับเซลล์สืบพันธ์ุ
- เริ่มจาก 1 แบ่ง 2 ได้เป็น 4 เซลล์
- เซลล์ใหม่ที่เกิดขึ้น 4 เซลล์ ไม่สามารถเเบ่งตัวเเบบไมโอซิสได้อีก เเต่อาจเเบ่งเเบบไมโทซิสได้
- ส่วนใหญ่จะเเบ่งเเบบไมโอซิสเมื่ออวัยวะสืบพนธุเจริญเติมที่เเล้ว
- จำนวนโครโมโซมจะลดลงครึ่งหนึ่งในระยะไมโอซิส เนื่องจากการเเยกคู่ของฮอมอโลกัสโครโมโซมทำให้เซลล์ใหม่มีจำนวนโครโมโซมครึ่งหนึ่งของเซลล์เดิม
- เกิดไซเเนปซิส ไคเเอสมา และมักเกิดครอสซิงโอเวอร์
- ลักษณะของสารพันธุกรรมและโครโมโซมในเซลล์ใหม่อาจเปลี่ยนเเปลงเเละเเตกต่างกัน ถ้าเกิดครอสซิงโอเวอร์
วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556
สรุปบทเรียนวันที่ 24/ 6 /2556
STRUCTURE OF THE CELL
ความเหมือนเเละความเเตกต่างของสิ่งมีชีวิต1.โมเลกุลแบบเดียวกัน คือ DNA เก็บข้อมูลทางพันธุกรรมแต่ DNA ทั้งสายไม่เหมือนกัน
2.ใช้ภาษาพันธุกรรม (cenetic code) เดียวกันในการถอดรหัสชีวิต (โดยการสร้างโปรตีน) แต่ได้โปรตีนต่างกัน
CALL แบ่งได้ 2 กลุ่ม
1.เซลล์ชั้นต่ำ ไม่มีเยื่อหุัมนิวเคลียส คือ ของเหลวอยู่ในนิวเคลียสมารวมอยู่ในไซโทพลาสซึม เช่น เเบคทีเรีย
2.เซลล์ชั้นสูง เซลล์ที่มีการพัฒนา มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส พบในเซลล์พวก protista มนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ชั้นสูง
โครงสร้างของเซลล์สามารถแบ่งออกได้หลายกลุ่มดังนี้
1.ขอบเขตของเซลล์ cell wall, cell membrame
2.สร้างสาร Ribosome rough ER, smooth ER
3.สร้างพลังงาน mitcochondrion
4.พันธุกรรม
5.ขนส่งสาร rough ER, smooth ER
6.เกิดปฏิกริยาเคมี Cytoplast , Cloroplast
7.กำจัดของเสีย Rtsosome , vawclo
การลำเลี้ยงสารผ่านเซลล์
1.การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ มี 2 แบบ คือ
โดยมีโมเลกุลขนาดเล็กเเละขนาดใหญ่
ขนาดเล็ก
1.1การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน (passive trnsport )
1.1.1 การเเพร่ (diffusion)
1.1.2 การออสโมซีส ( osmosis) เป็นการเเพร่ของเหลวหรือการแพร่ของน้ำผ่านเยื้อเลือกผ่าน โดยน้ำจะแพร่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นน้ำมากไปยังที่มีนัำน้อย
1. สารละลายไฮเปอร์โทนิก (hypertonic solution)
2. สารละลายไฮโบโทนิก ( hypotonic solution)
3. สารละลายไอโซโทนิก ( isotonic solution)
1.1.3 การเเพร่เเบบฟาซิลิเทต ( Eacilltated Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของสารจากที่มีความเข้มข้นสูงไปยังบรเวณที่มีความเข้มข้นต่ำ โดยอาศัยโปรตีน
1.2การลำเลียงเเบบใช้พลังงาน ( Active transport)
2.การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื้อหุ้มเซลล์ ที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่
2.1 เอกโซไทโทซิล ( Exocy tosis) เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ๋ออกจากเซลล์ สารที่จะถูกส่งไปนอกเซลล์บรรจุอยู่ในเวสสิคิล
2.2 เอนโดไซโทซิล ( Endocy tosis) เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่เข้าสู่เซลล์ ในสิ่งมีชีวิตที่มีชื่อเรียก แตกต่างไปตามกลไกการลำเลียง คือ
2.2.1 ฟาโกโทซิส ( Phagocytosis)
2.2.2 พิโนไซโทซิส (Pinocytosis)
2.2.3 การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ ( Receptor)
วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2556
สรุป Lab วันที่ 21/6 /2556
เรียนรู้
ส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์ว่ามีอะไรบ้าง เเละเเต่ละชนิดมีชื่ิอเรียกว่า แล้วทำหน้าที่อย่างไรส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์
1. ฐาน (BASE) ทำหน้าที่รับน้ำหนักทั้งหมดของกล้องจุลทรรศน์
2. อาร์ม (ABM) เป็นส่วนยึดกล้องเเละฐานไว้ด้วยกัน ใช้เป็นที่จับเวลาเคลื่อนย้ายกล้อง
3. ลำกล้อง (BODY TURE) เป็นส่วนที่อยู่ต่อจากมือจับ มีลักษณะเป็นท่อกลวงปลายด้านบนมมีเลนส์ใกล้ตาสวมอยู่ด้านบน อีกด้าหนึ่งมีชุดของเลนส์ใกล้วัตถุ
4. แท่นวางวัตถุ (STAGE) เป็นแท่นสำหรับวางสไลด์ที่ต้องการศึกษา
5. เลนส์รวมแสง (CONDE NSER) อยู่ด้านใต้เลนส์วัตถุ เพื่อรวมแสงที่อยู่บนวัตถุผ่านไปยังสไลด์
6. ไอริส ไดอะเเฟรม (IRIS DIAPHARM) ม่านปิดเปิดรูรับเเสง
7. เลนใกล้วัตถุ (OBJECTIVE LENS) รับแสงที่ส่องผ่านมาจากวัตถุที่นำมาศึกษา เมื่ิอแสงผ่านเลนส์ใกล้วัตถุ ก็จะขยายภาพของวัตถุนั้นๆ ทำให้ภาพที่ได้เป็นภาพจริงหัวกลับ
8. (REVOLVING NOSEPIECE) ใช้สำหรับหมุนเพื่อเปลี่ยนกำลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
9. เลนส์ใกล้ตา (EYEPIECE LENS หรือ OCULAR LENS) เลนส์นี้จะสวมอยู่กับลำกล้อง มีตัวเลขเเสดงกำลังขยายอยู่ด้านบน เช่น 5x 10x 15x หรือ 40x เป็นต้น
10. ปุมปรับภาพหยาบ (COARSE ADJUSMENT KNOB) ใช้เลื่อนตำแหน่งของแท่นวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยู่ในระดับโฟกัส ก็จะมองเห็นภาพได้
11. ปุมปรับภาพละเอียด (FINE ADJUSMENT KNOB) อยู่ใกล้ปุมปรับภาพหยาบที่ตำแหน่งเดียวกัน เมื่อปรับด้วยปุมภาพหยาบจนมองเห็นภาพเเล้ว จึงหมุนปุมปรับภาพละเอียดจะทำให้ได้ภาพที่ชัดเจนขึ้น
จากการใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องเซลล์พืชจากใบว่านกาบหอยและเซลล์เยื่อบุข้างเเก้มได้ดังนี้
ใบว่านกาบหอยโดยพบเซลล์
1.Choraglast
2.Guard Call
3.Call Wall
4.Cytoplasm
เซลล์เยื่อบุข้างเเก้มโดยพบเซลล์
1.Centrosome
2.Cyytoplasm
3.Lysosome
4.Ribosome
วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2556
warangkanang
สรุปบทเรียนวันที่ 17/6/56
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
ในการเเสวงหาความรู้วิธีการทางวิทยาศาสตร์นั้น ประกอบไปด้วย ดังนี้
1.การกำหนดปัญหา (ในการกำหนดปัญหาจะต้องตั้งชื่อปัญหานั้นให้มีความสัมพันธ์กับตัวเเปรต้นเเละตัว
แปรตาม)
2.สมุติฐานที่เป็นไปได้
3.คำนิยามเชิงปฏิบัติการ (จะใช้เมื่อเเปรความหมายได้หลายอย่าง )
4.ตัวเเปร
- ตัวเเปรต้น
- ตัวแปรตาม
- ตัวแปรควบคุม
5. ขอบเขตของการทดลอง ( ให้ระบุสิ่งที่จริงที่นำมาทดลอง)
6.วิธีการทดสสอบสมมุติฐาน
7.วิธีการนำเสนอผลการทดลอง
ในทางวิทยาศาสตร์นั้นนักวิทยาศาสตร์จะใช้เครื่องมือที่สำคัญมากทางวิทยาศาสตร์ คือ กล้องจุลทรรศน์
ในการหาคำตอบของเซลล์สิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้าง 2
สวน คือ
1.โคร้งสร้างเเสง
2.โคร้งสร้างภาพ
กล้องจุลทรรศน์นี้ให้ภาพสุดท้ายในภาพเหมือนหัวกลับ
กล้องจุลทรรศน์ประกอบด้วยเลนส์ 2 อัน คือ เลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา
กำลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กำลังขยายเลนส์ใกล้ตาคคูณกำลังขยายเลนส์ใกล้วัตถุ
จะเขียนกำลังขยายใต้ภาพทางด้านขวามือ
จะเเสดงชื่อภาพไว้ด้านบนรูป
เขียนป้ายกำกับชื่อหรือ label จากตาเห็นในกล้องจุลทรรศน์
วันพฤหัสบดีที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2556
สรุปบทเรียน
เด็กไทยในวันนี้ คือ อนาคตของชาติในวันหน้า
เด็กถือเป็นทรัพยากรที่สำคัญที่สุดของชาติ เป็นผู้ที่จะนำพาประเทศชาติไปสู่ความสำเร็จในวันข้าง
หน้า การที่ครูจะสอนเด็กให้ได้ดีนั้นผู้เป็นครูจะต้องมองข้ามข้อบกพร่องทุกสิ่งทุกอย่าง พร้อมที่จะเข้าใ
ใจเด็กตลอดเวลา ก็สามารถทำให้เขาเรียนรู้ได้ดี
'' ใส่ใจกับการเปลี่ยนเเปลงเล็กน้อยเร็วขึ้น เพื่อรับกับการเปลี่ยนแปลงใหญ่ที่อาจตามมา''
ไม่ว่าใครต่อใคร ล้วนที่จะเเสวงหาสิ่งที่ดีที่สุดให้กับตนเองเสมอ โลกที่เปลี่ยนไป ทำให้สรรพสิ่ง
เปลี่ยนตามจนเกิดความรู้ใหม่ๆ ขึ้น หากเป็นเช่นนี้เด็กก็จำเป็นที่จะเรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง ให้ได้
รับความรู้ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ประสบกับความสำเร็จในชีวิต เปรียบกับนกอินทรีย์ที่ต้องเปลี่ยน
แปลงตนเองเพื่อความอยู่รอดปลอดภัย ถึงเเม้การเปลี่ยนแปลงบ้างครั้งอาจจะเจ็บปวดแต่ก็สามารถ
เปลี่ยนแปลงชีวิตมันทั้งชีวิตให้สวยงามได้
สิ่งที่จะนำพาเด็กไทยไปสู่หัวใจหลักเเห่งการศึกษา
ได้ดีที่สุด คือ ครู ผู้ที่มีแต่ให้กับให้
วันอาทิตย์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2556
sentang shiwit
ไม่เปลี่ยนแปลง :วรางคนางค์ วาหะรักษ์
มักเรียกกัน: ฟารีด้า
ฟ้าประทาน :6 มกราคม 2537
อยากให้เูธอได้ยินเสัยง: 090-8684634
ทางกลับบ้าน :41/1ม.9 ต.บางเตย อ.เมือง จ.พังงา82000
ที่พักใจชั่วคราว :หอผ่าสุก
facebook :warangkanang waharak
Email :warangkanang__da@hotmail.com
>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>>
ประวัติการศึกษา
ประถม: โรงเรียนบ้านกลาง
มัธยม : โรงเรียนประทีศาสน์
ปริญญาตรี: PSU pattani ชั้นปีที่2
คณะศึกษาศาตร์ :สาขาวิชาการประถม
'''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''''
เพื่อนสนิท: ทิตย์ศรา มารีณา มูนา นูรี
สีที่ชอบ :ฟ้า
อาหารจานโปรด :ไก่ผัดกระเทียมพริกไทย
ผลไม้ที่ชอบ :มะม่วง (เปรี้ยว)
งานอดิเรก: ฟังเพลง ร้องเพลง ดูข่าว
คติประจำใจ :อย่าท้อในสิ่งที่ไำม่ได้ทำ อย่าตอกยํ้ากับสิ่งที่ผ่านมา
ชีวิตคือการต่อสู้ ศัตรูคือยากำลัง
อุปสรรค์สร้างความหวัง กี่พันครั้งยังก้าวเดิน
ศัตรูมิใช่มิตร คอยแต่คิดทิ่มแทงหลัง
เรารู้เขาหรือยัง ผิดพลาดพรั่งระวังไว้
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)